สถานที่ขอหวย วัดหินอ่อน 2566 วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ชมความงาม พระอุโบสถหินอ่อน

สถานที่ขอหวย วัดหินอ่อน 2566

สถานที่ขอหวย วัดหินอ่อน 2566 เรากำลังจะพาทุกคนไปชมความงดงามของ พระอุโบสถหินอ่อน กันในวันนี้ค่ะ อีกทั้งที่นี่ยังถือเป็นสถาปัตยกรรม ที่สมบูรณ์แบบของศิลปะไทยอีกด้วย เอาล่ะ ตามมาเที่ยว วัดสวยๆ ในกรุงเทพฯ มารู้จักที่มา ประวัติของวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม วัดเก่าแก่ที่งดงามแห่งหนึ่งของประเทศไทย ไปพร้อมกันเลยค่ะ

สำหรับหินอ่อนที่ประดับตกแต่งพระอุโบสถ เลขเฮง วัดหินอ่อน พระระเบียง ตลอดจนสถานที่อื่นๆ สมเด็จฯเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงวัดขนาดทำแบบส่งไปเป็นตัวอย่างโดยตรงที่บริษัทขายหินอ่อน ประเทศอิตาลี และหินอ่อนทั้งหมดได้มีการสั่งซื้อและเรียกประกวดราคา สถานที่ขอหวย วัดหินอ่อน ส่วนหนึ่งเป็นหินอ่อนจากห้างโนวี ยัวเสปเป้ (Novi Guiseppe) เมืองเยนัว กับหินอ่อนจากเมืองคาร์รารา (Carrara) ประเทศอิตาลี ที่ถือว่าเป็นเมืองที่มีหินอ่อนมากและดีที่สุด และในการออกแบบประดับหินอ่อนนั้น สถานที่ขอหวยภาคกลาง มีวิศวกรและสถาปนิกชาวอิตาเลียน จากกรมโยธาธิการ ร่วมดำเนินการด้วยคือ วิศวกร อัลเลกริ (Carlo Allegri) และ สถาปนิก ตะมาโย (Mario Tamagno) เป็นผู้ช่วยเขียนแบบบางส่วน

เที่ยวกรุงเทพ สถานที่ขอหวยวัดหินอ่อน วัดสวย พระนคร 2566

สถานที่ขอหวย วัดหินอ่อน 2566

ประวัติวัดหินอ่อน

วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ตั้งอยู่ที่ เขตดุสิต กรุงเทพฯ ค่ะ แต่เดิมนั้นมีชื่อว่า วัดแหลม หรือ วัดไทร ทอง และไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างขึ้นเมื่อใด ต่อมาในภายหลังได้รับพระราชทานนามจาก พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ใหม่ว่า วัดเบญจบพิตร ซึ่งหมายถึง วัดของเจ้านาย 5 พระองค์ที่ทรงร่วมกันปฏิสังขรณ์วัดแห่งนี้นั่นเอง สถานที่ขอหวยวัดหินอ่อน ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงสร้าง สวนดุสิต ขึ้น และพระองค์ทรงสถาปนาวัดด้วยศิลปะสถาปัตยกรรมไทยโบราณ มีการวางแปลนแยกสัดส่วนเป็นเขตพุทธาวาส สังฆาวาส และที่ธรณีสงฆ์ ทำให้ที่นี่เป็นวัดที่มีการวางแปลนแผนผังที่ดีที่สุดวัดหนึ่ง และพระราชทานนามว่า “วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม” ซึ่งหมายถึง “วัดของพระเจ้าแผ่นดินรัชกาลที่ 5” และเราก็ใช้ชื่อนี้มาจนถึงปัจจุบันค่ะ เลขมงคล วัดหินอ่อน ภายในวัดมีสถานที่สำคัญ และน่าสนใจมากมายทั้ง ศาลาสี่สมเด็จ พระที่นั่งทรงธรรม หอระฆังบวรวงศ์ พระอุโบสถ พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ วัดเบญจมบพิตร ซึ่งเป็นพิพิธภัณฑ์ที่สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สถานที่ขอหวยวัดหินอ่อน2566 เพื่อจัดแสดงพระพุทธรูปโบราณในสมัยต่างๆ ทั้งในและนอกประเทศ

อีกทั้งยังมีสถานที่อื่นๆ ให้เยี่ยมชมอีกมากมายค่ะ เลขดัง วัดหินอ่อน นอกจากนี้ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ยังเป็นที่รู้จักของนักท่องเที่ยวทั่วโลกว่า “The Marble Temple” หรือ “วัดหินอ่อน” อีกด้วย เนื่องจาก พระอุโบสถ พระระเบียง ประดับด้วยหินอ่อนจากประเทศอิตาลี วัดหินอ่อนกรุงเทพ และเป็นวัดที่มีความวิจิตรงดงามด้วยศิลปะสถาปัตยกรรมไทยโบราณ พระอุโบสถเป็นแบบจตุรมุข ด้านในปูหินแกรนิตสีชมพูอ่อนและสีเทา ภายในพระอุโบสถ ประดิษฐาน พระพุทธชินราช เลขนำโชค วัดหินอ่อน ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดให้หล่อเมื่อปี พ.ศ.2444 เป็นพระนั่งสมาธิราบ ปางมารวิชัย สมัยสุโขทัย ซึ่งจำลองจากองค์จริงที่จังหวัดพิษณุโลก ประดิษฐาน ณ พระแท่นรัตนบัลลังก์ เลขเด็ด วัดหินอ่อน โดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้บรรจุพระสรีรางคารพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ผู้ทรงสถาปนาวัด ณ ที่นั่นด้วย ที่ซุ้มมุขด้านตะวันตกประดิษฐาน พระพุทธรูปยืนองค์ใหญ่ปิดทอง เป็นพระพุทธรูปที่หล่อจากเศษทองที่เหลือจากการหล่อพระพุทธชินราชจำลอง เรียกกันว่า หลวงพ่อธรรมจักร ค่ะ

บทสวดบูชา

นโม พุทธายะ พระพุทธะไตรรัตนญาณ
มณีนพรัตน์ สีสะหัสสะ สุธรรมา
พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะ-ธา-พุท-โม-นะ
พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
อัคคีทานัง วะรังคันธัง สีวะลี จะ มะหาเถรัง
อะหัง วันทามิ ทูระโต อะหัง วันทามิ ธาตุโย
อะหัง วันทามิ สัพพะโส
พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ

สถานที่ขอหวย วัดหินอ่อน 2566

ที่อยู่วัดหินอ่อน

69 ถนนพระรามที่ 5 แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพฯ

ขอบคุณข้อมูลและรูปภาพ จาก : http://www.madchima.org/, http://bigm2cu.blogspot.com/,https://www.huaythai888.com

❤️ วิธีขอเลขเด็ด ❤️

จงตั้งจิตให้เป็นสมาธิ โดยหลับตาหายใจเข้า-ออกลึก ๆ สัก 1 นาที หรือจนรู้สึกว่าจิตใจสงบแล้ว พร้อมแล้ว ให้ลืมตาและอธิษฐานดังนี้

ข้าพเจ้า นาย/นาง/นางสาว _____(บอกชื่อสกุลของท่าน)_____ ขอตั้งจิตอธิษฐานถึงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายที่ข้าพเจ้าเคารพนับถือ _____(บอกชื่อของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เคารพนับถือ)_____

ขอบารมีท่านช่วยดลบันดาลเปิดดวงโชคลาภ บอกใบ้เลขเด็ด เลขนำโชค ให้ข้าพเจ้า ผ่านวงล้อเสี่ยงทายเลขเด็ดนี้ด้วยเทอญ
คลิก ” เสี่ยงทาย ” …